Il fait froid et humide tout au long de l’année. Et en hiver il gèle sur le sommet. Le Doi Inthanon est la source de nombreux cours d'eau: les fleuves de Mae Ping, de Mae Klang, et le Mae Ya sur lequel sont situés le barrage de Bhumipol et sa centrale électrique . Les pins et les tecks sont très abondants dans les forêts de la montagne. Les touristes peuvent y visiter le “Parc National de Doi Inthanon”, vaste domaine, qui est probablement l'écosystème le mieux préservé de la Thaïlande. Le paysage du parc national, où fleuves et animaux abondent, est exceptionnel, et possède plusieurs quelques chutes d’eau attrayantes, en particulier celle de Mae Ya qui est l’une des cascades les plus belles en Thaïlande. En plus des paysages merveilleux, et du climat exceptionnel , on y trouve les roses sauvages qui ressemblent à celles des “Phu Kradueng”, la montagne au Nord-Est de la Thaïlande, mais qui y sont beaucoup plus grandes, notamment les « roses de mille-années ».
วันศุกร์ที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550
Il fait froid et humide tout au long de l’année. Et en hiver il gèle sur le sommet. Le Doi Inthanon est la source de nombreux cours d'eau: les fleuves de Mae Ping, de Mae Klang, et le Mae Ya sur lequel sont situés le barrage de Bhumipol et sa centrale électrique . Les pins et les tecks sont très abondants dans les forêts de la montagne. Les touristes peuvent y visiter le “Parc National de Doi Inthanon”, vaste domaine, qui est probablement l'écosystème le mieux préservé de la Thaïlande. Le paysage du parc national, où fleuves et animaux abondent, est exceptionnel, et possède plusieurs quelques chutes d’eau attrayantes, en particulier celle de Mae Ya qui est l’une des cascades les plus belles en Thaïlande. En plus des paysages merveilleux, et du climat exceptionnel , on y trouve les roses sauvages qui ressemblent à celles des “Phu Kradueng”, la montagne au Nord-Est de la Thaïlande, mais qui y sont beaucoup plus grandes, notamment les « roses de mille-années ».
วันพฤหัสบดีที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550
Si la mer est en contact avec un océan elle se distingue de ce dernier par sa position géographique généralement enclavée entre des masses terrestres ou simplement limitée par le plateau continental. Ex : La Manche communique avec l'océan Atlantique par la mer Celtique, mais elle s'en distingue par sa position médiane entre les côtes sud de l'Angleterre et les côtes nord de la France. Une mer en contact avec un océan peut se distinguer par des conditions physiques particulières. Ex : la Méditerranée communique avec l'océan Atlantique par le détroit de Gibraltar. Elle se distingue de l'océan par sa position enclavée entre l'Europe, l'Asie (Proche-Orient) et l'Afrique et par des conditions maritimes différentes (différentiel de température entre l'océan et la mer, faune et flore distinctes, marée de plus faible amplitude pour la Méditerranée...). Autre exemple : la mer des Sargasses avec son accumulation d'algues brunes au large de la Floride se distingue de façon totalement arbitraire de l'océan Atlantique.
Le terme de mer est aussi utilisé pour désigner certains grands lacs, en particulier lorsqu'ils n'ont pas de cours d'eau dans lesquels ils se déversent. C'est le cas par exemple de la mer Caspienne ou encore de la mer d'Aral. On parle alors souvent de mer fermée.
Le sel de mer est un composé dont le nom complet en chimie est chlorure de sodium. Il tend à se dissoudre dans l'eau jusqu'à une concentration de saturation de 359 g/l. Si on tente d'augmenter la concentration au au-delà de cette valeur, par évaporation de l'eau, une partie du sel revient à l'état solide (solidification ou cristallisation) et se dépose. La valeur de la salinité des mers étant largement inférieure, le sel ne se dépose pas au fond des mers. Comme il ne s'évapore pas non plus, il est piégé dans la mer.
Certains sols et roches continentales contiennent du sel. Lorsque ces roches sont exposées à la pluie ou aux écoulements d'eau souterrains, une partie du sel sera dissous et rejoindra les rivières puis la mer. Etant donné que ce sel ne reste pas mais est constamment évacué, la salinité des rivières restera la plupart du temps très basse.
Les dépôts de sel peuvent se faire naturellement lorsque la concentration en sel d'une mer ou d'un lac salé a augmenté au dela de la saturation. Cela peut se produire dans des zones continentales où il n'existe aucun écoulement vers les océans, comme la Mer Morte.
Un autre cas est celui de la Méditerranée, qui à certaines époques géologiques a fonctionné comme un marais salant : sa liaison avec les océans détroit de Gibraltar étant plus étroite, elle ne permettait pas les échanges d'eau dans les deux sens comme cela se produit actuellement. D'autre part, l'évaporation étant plus forte que les précipitations et apports d'eau douce (ce qui est toujours le cas), c'est donc un apport océanique qui compensait le déficit. Il y avait donc une entrée de sel qui n'était compensée par aucun export. Cela a entraîné des dépôts de sel très importants au fond de la Méditerranée et a semble-t-il eu également une influence sur la salinité des océans. En effet l'estimation de l'apport de sel à l'océan global par l'ensemble des rivières au cours des temps géologiques est supérieure d'au moins un ordre de grandeur à la masse de sel dissoute dans les océans.
Les mouvements de la mer sont complexes ; pour mieux les analyser, ils sont décomposés en mouvements élémentaires, dont les causes et les lois peuvent être étudiées séparément.
วันพุธที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550
La fable de Psyché (mot grec qui signifie « âme ») a inspiré Apulée, La Fontaine, le poète V. de Laprade, le grand peintre Baron Gérard, etc.
Il n'est pas rare de le voir représenté auprès de sa mère qui joue avec lui, le taquine ou le presse tendrement contre son cœur.
Il arrive aussi qu'il soit représenté sous les traits d'un jeune homme adolescent, avec les mêmes attributs.
S'il porte le casque, la pique et le bouclier, il affecte de prendre une attitude, une démarche guerrières, montrant ainsi qu'il est partout victorieux, et que Mars lui-même se laisse désarmer par l'Amour.
วันอังคารที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2550
องค์พระปฐมเจดีย์ เป็นปูชนียสถานอันสำคัญของประเทศไทย อยู่ภายในวัดพระปฐมเจดีย์ราชวรมหาวิหาร มีประวัติความเป็นมายาวนานในแผ่นดินสุวรรณภูมิ เป็นที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ ของพระพุทธเจ้า
องค์พระปฐมเจดีย์ เป็นพระเจดีย์ใหญ่ รูประฆังคว่ำ ปากผายมหึมา โครงสร้างเป็นไม้ซุง รัดด้วยโซ่เส้นมหึมาก่ออิฐ ถือปูน ประดับด้วยกระเบื้องปูทับ ประกอบด้วยวิหาร 4 ทิศ กำแพงแก้ว 2 ชั้น เป็นที่ประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ ของพระพุทธเจ้า เป็นที่เคารพ สักการะบูชาของบรรดาพุทธศาสนิกชนทั่วโลก ทางวัดกำหนดให้มีงานเทศกาลนมัสการองค์พระปฐมเจดีย์ ในวันขึ้น 12 ค่ำ เดือน 12 ถึง วันแรม 5 ค่ำ เดือน 12 รวม 9 วัน 9 คืน เป็น ประจำทุกปี
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์
พระปฐมเจดีย์ หรือเดิมเรียกว่า พระธมเจดีย์ มีฐานะเป็นมหาธาตุหลวง ของแผ่นดินสุวรรณภูมิ ทั้งนี้ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราชวินิจฉัยว่า พระธมเจดีย์องค์นี้ อาจเป็นเจดีย์ที่สร้างขึ้น เมื่อคราวที่พระสมณทูต ในพระเจ้าอโศกมหาราช เดินทางมาเผยแผ่ศาสนายังสุวรรณภูมิ ก็เป็นได้ เพราะพระเจดีย์เดิม มีลักษณะทรงโอคว่ำ หรือทรงมะนาวผ่าซีก แบบเดียวกับพระสถูปสาญจี แต่ปรากฏว่ามียอดเป็นแบบปรางค์ ซึ่งพระองค์ฯ ทรงมีพระราชวินิจฉัยว่า อาจมีเจ้านายพระองค์ใดมาบูรณะไว้ก็เป็นได้ ซึ่งตรงกับความในศิลาจารึกหลักที่ 2 (ศิลาจารึกวัดศรีชุม) ของ พระมหาเถรศรีศรัทธาฯ อันได้กล่าวไว้ว่า พระมหาเถรศรีศรัทธาฯ ท่านทรงได้แวะมาบูรณะพระธมเจดีย์องค์นี้ ก่อนที่ท่านจะเดินทางกลับเมืองราด เมื่อคราวที่ท่านเสด็จกลับจากศึกษาพระพุทธศาสนาที่ลังกา ทั้งนี้ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงทรงพระราชทานนามใหม่ว่า พระปฐมเจดีย์ ด้วยทรงเชื่อ ว่านี่คือเจดีย์แห่งแรกของสุวรรณภูมิ นั่นเอง
ในเรื่องนี้ นักประวัติศาสตร์ และนักโบราณคดีบางท่าน ได้ระบุว่า พระปฐมเจดีย์ไม่ได้เป็นเจดีย์ที่เก่าที่สุดของสุวรรณภูมิ แต่เป็น พระมหาธาตุหลวง ในยุคทวารวดี มากกว่า เนื่องด้วยเหตุผลประกอบหลายประการ โดยเฉพาะ การค้นพบเจดีย์ ที่มีอายุเก่าแก่กว่าพระธมเจดีย์ และหลักฐานลายลักษณ์อักษร ที่ระบุว่า " พระเจดีย์องค์นี้ เดิม ขอมเรียก พระธม " ซึ่งไม่ว่าจะเป็นชาวขอมจริงๆ หรือชาวลวรัฐ ซึ่งสมัยนั้นเราก็เรียกว่าขอม เช่น ขอมสบาดโขลญลำพง คำว่า ธม สำหรับชาวขอมนั้น แปลว่า ใหญ่ ตรงกับคำเมืองว่า หลวง ซึ่งเราก็เรียกพระนครธม ว่า พระนครหลวง ด้วยเหตุผลเดียวกัน
นอกจากนี้พระบรมราชสรีรางคาร รัชกาลที่ 6 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว บรรจุที่ฐานพระร่วงโรจนฤทธิ์ พระปฐมเจดีย์ จังหวัดนครปฐม และฐานพระพุทธชินสีห์ วัดบวรนิเวศวิหาร ตามที่มีพระบรมราชโองการสั่งไว้ในพระราชพินัยกรรม ต่อมา ในพุทธศักราช 2529 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลปัจจุบัน ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เชิญพระอังคารของ พระนางเจ้าสุวัทนา พระวรราชเทวีในรัชกาลที่ 6 ไปบรรจุไว้เคียงข้างพระบรมราชสรีรางคารรัชกาลที่ 6 ที่ใต้ฐานพระร่วงโรจนฤทธิ์
พระร่วงโรจนฤทธิ์
ปี พ.ศ. 2451 พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 เมื่อครั้งดำรงพระอิสริยยศเป็น สมเด็จพระยุพราช เสด็จประพาสหัวเมืองฝ่ายเหนือได้ทอดพระเนตร พระพุทธรูปโบราณเป็นอันมาก แต่มีพระพุทธรูปองค์หนึ่งที่เมืองศรีสัชนาลัย (จังหวัดสุโขทัย) กอปรด้วยพระลักษณะงามเป็นที่ต้องพระราชหฤทัย แต่ชำรุดมากเหลืออยู่แต่พระเศียร พระหัตถ์และพระบาท จึงโปรดเกล้าฯ ให้อัญเชิญลงมากรุงเทพฯ แล้วให้ช่างปั้นสถาปนาขึ้นมาบริบูรณ์เต็มพระองค์ และโปรดเกล้าฯ ให้จัดการพระราชพิธีเททองหล่อขึ้นเมื่อวันที่ 30 ธันวาคม พ.ศ. 2456 ณ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามกรุงเทพมหานครฯ
พระร่วงโรจนฤทธิ์ เป็นที่เคารพบูชาของ พุทธศาสนิกชนชาวไทยทั่วไป ชื่อเต็มก็คือ พระร่วงโรจนฤทธิ์ ศรีอินทราทิตย์ ธรรโมภาส มหาวชิราวุธ ตามประกาศกระแสพระบรมราชโองการ ลงวันที่ 12 ตุลาคม พ.ศ. 2566 แต่ประชาชนทั่วไป จะเรียกว่า หลวงพ่อพระร่วง หรือ พระร่วงโรจนฤทธิ์
พระร่วงโรจนฤทธิ์ มีขนาดความสูงวัดจากพระบาทถึงพระเกศ 7.42 เมตร หรือราว 12 ศอก 4 นิ้ว เป็นพระพุทธรูปปางห้ามญาติ ศิลปะแบบสุโขทัย ประทับยืนอยู่บนฐาน โลหะทองเหลืองลายบัวคว่ำบัวหงาย ทำวงพระพักตร์ตามยาว พระหนุเสี้ยมนิ้วพระหัตถ์ และพระบาทไม่เสมอกัน ห้อยพระหัตถ์ซ้ายลงข้างพระวรกาย แบฝ่าพระหัตถ์ขวายกตั้งขึ้น ยื่นออกไปข้างหน้าระดับพระอุระ เป็นกิริยาห้าม มีพระอุทรพลุ้ยออกมา ห่มจีวรบางคลุม แนบติดพระวรกาย บ่ายพระพักตร์สู่ทิศเหนือ ทำด้วยโลหะทองเหลือง หนัก 100 หาบ
การอัญเชิญพระร่วงโรจนฤทธิ์ เมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2457 จำเป็นต้องแยกชิ้นมาและมาประกอบเข้าด้วย กันที่จังหวัดนครปฐมแล้วเสร็จเป็นองค์สมบูรณ์ เมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2458 หลังจากรัชกาลที่ 6 เสด็จสวรรคต แล้ว ตามความใน พระราชพินัยกรรมของพระองค์ระบุว่าให้ บรรจุพระอังคารของพระองค์ไว้ใต้ฐานพระร่วงฯ ที่องค์พระ ปฐมเจดีย์ วันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2469 จึงได้ทำพิธีบรรจุ พระบรมราชสรีรังคาร ณ ใต้ฐานพระร่วงโรจนฤทธิ์ ศรีอินทราทิตย์ ธรรโมภาส มหาวชิราวุธ ตาม พระประสงค์ทุกประการ
แหล่งท่องเที่ยว:
พระราชวังสนามจันทร์ ห่างจากองค์พระปฐมเจดีย์ ไปทางทิศตะวันตกราว 2 กิโลเมตร มีพื้นที่ 888 ไร่ 3 งาน 24 ตารางวา พระราช วังแห่งนี้พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นตั้งแต่ยังทรงดำรง พระยศเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชสยามมกุฎราชกุมาร ซึ่งมี มูลเหตุจูงใจมาจากการบูรณะปฏิสังขรณ์ องค์พระปฐมเจดีย์ ที่ทำให้พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงพอพระราชหฤทัยเมืองนครปฐมเป็น อย่างยิ่ง ทรงเห็นว่าเป็นเมืองที่เหมาะสมสำหรับประทับพักผ่อน เนื่องจากมีภูมิประเทศสวยงามร่มเย็น ดังที่ได้ ทรงไว้ในลายพระหัตถ์ เรื่องการแก้ไขวิหารหลวงตอนหนึ่งว่า "ในรัชกาลที่ 5 ฉันได้ออกไปพักอยู่ที่เมืองนคร ปฐมบ่อย ๆจึงได้ใฝ่ใจในองค์พระนั้นมากแต่นั้นมา" เมื่อครั้งยังดำรงพระยศเป็นพระบรมโอรสาธิราชฯ และ ยังไม่ได้สร้างพระราชวังสนามจันทร์ เวลา เสด็จนครปฐมมักจะประทับที่พลับพลาชั่วคราวในดงไผ่ บริเวณ มหาวิทยาลัยศิลปากรปัจจุบัน หรือมิฉะนั้น ก็จะประทับที่พระตำหนักบังกะโล ซึ่งอยู่ตรงมุมถนนขวาองค์พระ ใกล้กับสถานีตำรวจ ซึ่งปัจจุบันพระตำหนัก หลังนี้ได้รื้อลงหมดแล้ว พระองค์โปรดฯ การทรงม้าพระที่นั่ง สำรวจท้องที่เป็นอย่างมาก บางครั้งก็เสด็จไปที่ ตำบลวัดทุ่งพระเมรุ แต่ส่วนใหญ่โปรดเสด็จไปที่บริเวณ พระราชวังสนามจันทร์ ซึ่งแต่เดิมเป็นที่ของชาว บ้านปลูกพืชไร่และพืชล้มลุก เช่น กล้วย สับปะรด ไว้มากมาย สลับกับทุ่งหญ้ารกเรื้อและป่าไผ่ขึ้นเป็นดง ทรงพอพระราชหฤทัยมาก เห็นว่าเป็นสถานที่เหมาะสมจะสร้างเป็น ที่ประทับถาวรในการเสด็จฯแปรพระ ราชฐาน จึงรับสั่งขอซื้อจากชาวบ้านเจ้าของที่โดยใช้เงินจากพระคลังข้าง ที่ทั้งสิ้น พระราชประสงค์ ในการ ซื้อที่ดินจำนวนมากมาย เพื่อสร้างพระราชวังสนามจันทร์ครั้งนี้มิใช่จะเห็นแก่ ความสุขสบายส่วนพระองค์ ในการเสด็จฯ แปรพระราชฐานเท่านั้น แต่เพราะทรงมีพระราชดำริที่ลึกซึ้ง นั่นก็ คือ ทรงเห็นว่านครปฐม เป็นเมืองที่มีชัยภูมิ เหมาะสำหรับต้านทานข้าศึกซึ่งจะยกเข้ามาทางน้ำได้อย่างดี ด้วย ทรงจดจำเหตุการณ์ เมื่อ ร.ศ. 112 ที่ฝรั่งเศสนำเรือรบเข้ามาปิดปากอ่าวไทยได้ และไม่ต้องการที่จะให้ประ เทศไทยตกอยู่ใน สภาพดังกล่าว จึงตั้งพระทัยที่จะสร้างพระราชวังสนามจันทร์ไว้สำหรับเป็นเมืองหลวงที่สอง เมื่อประเทศ ชาติประสบปัญหาวิกฤติ พระราชวังสนามจันทร์ เริ่มสร้างในปี พ.ศ. 2450 มีหลวงพิทักษ์มานพ (น้อย ศิลปี) ซึ่งต่อมาได้ เลื่อนยศเป็น พระยาศิลป์ประสิทธิ์ เป็นผู้ดำเนินการก่อสร้างพระที่นั่ง ซึ่งสร้างแล้วเสร็จและพระราชทาน นามตามประกาศ ลงวันที่ 27สิงหาคม 2454 มีเพียง 2 พระที่นั่ง ได้แก่ พระที่นั่งพิมานปฐม และพระที่นั่ง อภิรมย์ฤดี ต่อมาจึง สร้างเพิ่มเติมจนมีเท่าที่ปรากฏอยู่ในปัจจุบัน แม้จะสร้างพระที่นั่งต่าง ๆ เสร็จสมบูรณ์ ตามพระราชวังแต่เก่า ก่อน เพิ่งจะทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ทำพิธียกพระมหาเศวตฉัตรขึ้นประดิษฐาน เหนือพระแท่นรัตนสิงหา สน์ ภายในพระที่นั่งสามัคคีมุขมาตย์ เมื่อวันที่ 7 มิถุนายน พ.ศ. 2466 เวลา 4 นาฬิกา 47 นาที 51 วินาที พระ ราชวังสนามจันทร์ มีอาณาเขตกว้างขวาง ประกอบด้วยสนามใหญ่อยู่กลาง มีถนนโอบเป็นวงโดยรอบมีคูน้ำ ล้อมอยู่ชั้นนอก ส่วนพระที่นั่งต่าง ๆ นั้นรวมกันอยู่ส่วนกลางของพระราชวัง เท่าที่ปรากฏอยู่ในปัจจุบันได้แก่ พระที่นั่งพิมานปฐม เป็นพระที่นั่งองค์แรกที่สร้างขึ้นในพระราชวังสนามจันทร์ ตัวอาคารก่ออิฐ- ถือปูน เป็น ตึก 2 ชั้น แบบตะวันตก ทรงใช้เป็นที่ประทับตั้งแต่ยังไม่ได้เสด็จขึ้นครองราชย์ ห้องต่าง ๆ บนพระที่นั่งมี ห้องบรรทม ห้องสรง ห้องเสวย ห้องภูษา ฯลฯ และในพระที่นั่งพิมานปฐมนี้เอง ที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฎ เกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ประทับทอดพระเนตร เห็นปาฏิหาริย์ขององค์พระปฐมเจดีย์บนแท่น ไม้สักมีขนาด 2 เมตร ชื่อว่า "พระที่นั่งปาฏิหาริย์ทัศไนย์ ์" ขณะนี้ทางการได้รื้อไปตั้งไว้ที่หน้าพระที่นั่ง พุทไธสวรรย์ในพิพิธภัณฑ สถานแห่งชาติ ส่วนพระที่นั่งพิมานปฐมนั้น ในปัจจุบันใช้เป็นสวนหนึ่งของ ศาลากลางจังหวัดนครปฐม